สเปกคอมราคา 10,000 บาทก่าๆๆ
CPU E5200 : 2,460
P5KPL-AM P31 : 1,680
Kingston 2G DDR2 800MHz : 920
Samsung 320G : 1,480
PowerColor HD4830 : 2,790
Monitor Compaq “16 “นิ้ว : 1,000
ราคารวม 10,330 บ.
อ้างอิง www.soccersuck.com
วันพฤหัสบดีที่ 17 มิถุนายน พ.ศ. 2553
วันพฤหัสบดีที่ 3 มิถุนายน พ.ศ. 2553
ข้อมูลเกี่ยวกับความจุของข้อมูล
ความจุข้อมูลหรือขนาดของข้อมูล ที่ใช้เรียกในระบบคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ใช้การวัดขนาดของข้อมูลโดยทั่วไป มีดังนี้
- บิต (ฺBit) เป็นหน่วยวัดที่ใช้ในการบอกขนาดของข้อมูลที่มีขนาดเล็กที่สุด โดยแต่ละบิตถูกแสดงด้วย ตัวเลขไบนารี่ (ฺBinary Digits) คือ “0″ หรือ “1″ ซึ่งเป็นตัวเลขที่บ่งบอกถึงสถานนะการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
-ไบต์ (Byte) เป็นหน่วยวัดพื้นฐานที่สำคัญสำหรับใช้ในการบอกขนาดของข้อมูลหรือไฟล์ที่สามารถพบเห็นได้ทั่วไป โดย 1 ไบต์ จะมี 8 บิต ซึ่งสามารถใช้แทนตัวอักษรใดๆ 1 ตัว โดยตัวอักษรนั้นอาจจะเป็นตัวเลข, พยัญชนะ หรือสัญลักษณ์ต่างๆ
- กิโลไบต์ (Kilobyte ตัวย่อคือ KB) จะมีค่าเท่ากับ 1,024 ไบต์ หรือประมาณ 1,000 ไบต์ (10 ยกกำลัง 10) ซึ่งเทียบเท่ากับตัวอักษรประมาณ 1,000 ตัวหรือประมาณ 1 หน้ากระดาษโดยประมาณ
- เมกกะไบต์ (Megabyte ตัวย่อคือ MB) จะมีค่าเท่ากับ 1,048,576 ไบต์ (10ยกกำลัง20) หรือประมาณ 1 ล้านไบต์ 10 ซึ่งเทียบเท่ากับตัวอักษรประมาณ 1 ล้านตัวหรือประมาณหนังสือ 1 เล่มโดยประมาณ
- กิกะไบต์ (Gigabyte ตัวย่อคือ GB) เป็นหน่วยวัดที่มักจะใช้บอกความจุของอุปกรณ์จำพวก ฮาร์ดดิสก์, แผ่นดีวีดี และอื่นๆ โดยจะมีค่าเท่ากับ 1,073,741,824 ไบต์ (10 ยกกำลัง30)หรือประมาณ 1 พันล้านไบต์ ซึ่งเทียบเท่ากับตัวอักษรประมาณ 1 พันล้านตัวหรือประมาณหนังสือที่ถูกบรรจุอยู่ในตู้หนังสือจำนวน 1 ตู้ โดยประมาณ
- เทอราไบต์ (Terabyte ตัวย่อคือ TB) เป็นหน่วยวัดที่มีขนาดใหญ่มากขึ้น ซึ่งเทอราไบต์จะมีค่าเท่ากับ 1,099,511,627,776 ไบต์ 10 ยกกำลัง40 หรือประมาณ 1 ล้านล้านไบต์ ซึ่งเที่ยบเท่ากับตัวอักษรประมาณ 1 ล้านล้านตัวหรือประมาณหนังสือทั้งหมดที่ถูกบรรจุอยู่ในห้องสมุด 1 ห้องโดยประมาณ
ความจุของฮาร์ดดิสก์โดยทั่วไปในปัจจุบันนั้นมีตั้งแต่ 20 จิกะไบต์ ถึง 1.5 เทระไบต์
ขนาดความหนา 8 inch: 9.5 นิ้ว×4.624 นิ้ว×14.25 นิ้ว (241.3 มิลลิเมตร×117.5 มิลลิเมตร×362 มิลลิเมตร)
ขนาดความหนา 5.25 inch: 5.75 นิ้ว×1.63 นิ้ว×8 นิ้ว (146.1 มิลลิเมตร×41.4 มิลลิเมตร×203 มิลลิเมตร)
หน่วยที่ใช้การวัดขนาดของข้อมูลโดยทั่วไป มีดังนี้
- บิต (ฺBit) เป็นหน่วยวัดที่ใช้ในการบอกขนาดของข้อมูลที่มีขนาดเล็กที่สุด โดยแต่ละบิตถูกแสดงด้วย ตัวเลขไบนารี่ (ฺBinary Digits) คือ “0″ หรือ “1″ ซึ่งเป็นตัวเลขที่บ่งบอกถึงสถานนะการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
-ไบต์ (Byte) เป็นหน่วยวัดพื้นฐานที่สำคัญสำหรับใช้ในการบอกขนาดของข้อมูลหรือไฟล์ที่สามารถพบเห็นได้ทั่วไป โดย 1 ไบต์ จะมี 8 บิต ซึ่งสามารถใช้แทนตัวอักษรใดๆ 1 ตัว โดยตัวอักษรนั้นอาจจะเป็นตัวเลข, พยัญชนะ หรือสัญลักษณ์ต่างๆ
- กิโลไบต์ (Kilobyte ตัวย่อคือ KB) จะมีค่าเท่ากับ 1,024 ไบต์ หรือประมาณ 1,000 ไบต์ (10 ยกกำลัง 10) ซึ่งเทียบเท่ากับตัวอักษรประมาณ 1,000 ตัวหรือประมาณ 1 หน้ากระดาษโดยประมาณ
- เมกกะไบต์ (Megabyte ตัวย่อคือ MB) จะมีค่าเท่ากับ 1,048,576 ไบต์ (10ยกกำลัง20) หรือประมาณ 1 ล้านไบต์ 10 ซึ่งเทียบเท่ากับตัวอักษรประมาณ 1 ล้านตัวหรือประมาณหนังสือ 1 เล่มโดยประมาณ
- กิกะไบต์ (Gigabyte ตัวย่อคือ GB) เป็นหน่วยวัดที่มักจะใช้บอกความจุของอุปกรณ์จำพวก ฮาร์ดดิสก์, แผ่นดีวีดี และอื่นๆ โดยจะมีค่าเท่ากับ 1,073,741,824 ไบต์ (10 ยกกำลัง30)หรือประมาณ 1 พันล้านไบต์ ซึ่งเทียบเท่ากับตัวอักษรประมาณ 1 พันล้านตัวหรือประมาณหนังสือที่ถูกบรรจุอยู่ในตู้หนังสือจำนวน 1 ตู้ โดยประมาณ
- เทอราไบต์ (Terabyte ตัวย่อคือ TB) เป็นหน่วยวัดที่มีขนาดใหญ่มากขึ้น ซึ่งเทอราไบต์จะมีค่าเท่ากับ 1,099,511,627,776 ไบต์ 10 ยกกำลัง40 หรือประมาณ 1 ล้านล้านไบต์ ซึ่งเที่ยบเท่ากับตัวอักษรประมาณ 1 ล้านล้านตัวหรือประมาณหนังสือทั้งหมดที่ถูกบรรจุอยู่ในห้องสมุด 1 ห้องโดยประมาณ
ความจุของฮาร์ดดิสก์โดยทั่วไปในปัจจุบันนั้นมีตั้งแต่ 20 จิกะไบต์ ถึง 1.5 เทระไบต์
ขนาดความหนา 8 inch: 9.5 นิ้ว×4.624 นิ้ว×14.25 นิ้ว (241.3 มิลลิเมตร×117.5 มิลลิเมตร×362 มิลลิเมตร)
ขนาดความหนา 5.25 inch: 5.75 นิ้ว×1.63 นิ้ว×8 นิ้ว (146.1 มิลลิเมตร×41.4 มิลลิเมตร×203 มิลลิเมตร)
ทฤษฎีเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
“เศรษฐกิจพอเพียง” เป็นปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงมีพระราชดำรัสชี้แนะแนวทาง การดำเนินชีวิตแก่พสกนิกรชาวไทยมาโดยตลอดนานกว่า 25 ปี ตั้งแต่ก่อนเกิดวิกฤติการณ์ทางเศรษฐกิจ และเมื่อภายหลังได้ทรงเน้นย้ำ แนวทางการแก้ไขเพื่อให้รอดพ้น และสามารถดำรงอยู่ได้อย่างมั่นคงและยั่งยืนภายใต้กระแสโลกาภิวัตน์และความเปลี่ยนแปลง
มีหลักพิจารณา ดังนี้
กรอบแนวคิด เป็นปรัชญาที่ชี้แนะแนวทางการดำรงอยู่และปฏิบัติตนในทางที่ควรจะเป็นโดยมีพื้นฐานมาจากวิถีชีวิตดั้งเดิมของสังคมไทย สามารถนำมาประยุกต์ใช้ได้ตลอดเวลา และเป็นการมองโลกเชิงระบบที่มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา มุ่งเน้นการรอดพ้นจากภัยและวิกฤติ เพื่อความมั่นคงและความยั่งยืนของการพัฒนา
คุณลักษณะ เศรษฐกิจพอเพียงสามารถนำมาประยุกต์ใช้กับการปฏิบัติตนได้ในทุกระดับ โดยเน้นการปฏิบัติบนทางสายกลาง และการพัฒนาอย่างเป็นขั้นตอน
คำนิยาม ความพอเพียงจะต้องประกอบด้วย 3 คุณลักษณะพร้อม ๆ กัน ดังนี้
1. ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีที่ไม่น้อยเกิดไปและไม่มากเกินไป โดยไม่เบียดเบียนตนเองและผู้อื่น เช่น การผลิตและการบริโภคที่อยู่ในระดับพอประมาณ
2. ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับของความพอเพียงนั้นจะต้องเป็นไปอย่างมีเหตุผล โดยพิจารณาจากเหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้องตลอดจนคำนึงถึงผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากการกระทำนั้น ๆ อย่างรอบคอบ
3. การมีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว หมายถึง การเตรียมตัวให้พร้อมรับผลกระทบ และการเปลี่ยนแปลงด้านต่าง ๆ ที่จะเกิดขึ้นโดยคำนึงถึงความเป็นไปได้ของสถานการณ์ต่าง ๆ ที่คาดว่าจะเกิดขึ้นในอนาคตทั้งใกล้และไกล
เงื่อนไข การตัดสินใจและการดำเนินกิจกรรมต่าง ๆ ให้อยู่ในระดับพอเพียงนั้น ต้องอาศัยทั้งความรุ้ และคุณธรรมเป็นพื้นฐาน กล่าวคือ
1. เงื่อนไขความรู้ ประกอบด้วย ความรอบรู้เกี่ยวกับวิชาการต่าง ที่เกี่ยวข้องอย่างรอบด้าน ความรอบคอบที่จะนำความรู้เหล่านั้นมาพิจารณาให้เชื่อมโยงกัน เพื่อประกอบการวางแผนและความระมัดระวังในขั้นปฏิบัติ
2. เงื่อนไขความธรรม ที่จะต้องเสริมสร้างประกอบด้วย มีความตระหนักในคุณธรรม มีความชื่อสัตย์สุจริต และมีความอดทน มีความพากเพียร ใช้สติปัญญาในการดำเนินชีวิต
แนวทางปฏิบัติ/ผลที่คาดว่าจะได้รับ จากการนำปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ คือ การพัฒนาที่สมดุลและยั่งยืน พร้อมรับต่อการเปลี่ยนแปลงในทุกด้าน ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคมสิ่งแวดล้อม ความรู้และเทคโนโลยี
“เศรษฐกิจพอเพียง” เป็นปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงมีพระราชดำรัสชี้แนะแนวทาง การดำเนินชีวิตแก่พสกนิกรชาวไทยมาโดยตลอดนานกว่า 25 ปี ตั้งแต่ก่อนเกิดวิกฤติการณ์ทางเศรษฐกิจ และเมื่อภายหลังได้ทรงเน้นย้ำ แนวทางการแก้ไขเพื่อให้รอดพ้น และสามารถดำรงอยู่ได้อย่างมั่นคงและยั่งยืนภายใต้กระแสโลกาภิวัตน์และความเปลี่ยนแปลง
มีหลักพิจารณา ดังนี้
กรอบแนวคิด เป็นปรัชญาที่ชี้แนะแนวทางการดำรงอยู่และปฏิบัติตนในทางที่ควรจะเป็นโดยมีพื้นฐานมาจากวิถีชีวิตดั้งเดิมของสังคมไทย สามารถนำมาประยุกต์ใช้ได้ตลอดเวลา และเป็นการมองโลกเชิงระบบที่มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา มุ่งเน้นการรอดพ้นจากภัยและวิกฤติ เพื่อความมั่นคงและความยั่งยืนของการพัฒนา
คุณลักษณะ เศรษฐกิจพอเพียงสามารถนำมาประยุกต์ใช้กับการปฏิบัติตนได้ในทุกระดับ โดยเน้นการปฏิบัติบนทางสายกลาง และการพัฒนาอย่างเป็นขั้นตอน
คำนิยาม ความพอเพียงจะต้องประกอบด้วย 3 คุณลักษณะพร้อม ๆ กัน ดังนี้
1. ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีที่ไม่น้อยเกิดไปและไม่มากเกินไป โดยไม่เบียดเบียนตนเองและผู้อื่น เช่น การผลิตและการบริโภคที่อยู่ในระดับพอประมาณ
2. ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับของความพอเพียงนั้นจะต้องเป็นไปอย่างมีเหตุผล โดยพิจารณาจากเหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้องตลอดจนคำนึงถึงผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากการกระทำนั้น ๆ อย่างรอบคอบ
3. การมีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว หมายถึง การเตรียมตัวให้พร้อมรับผลกระทบ และการเปลี่ยนแปลงด้านต่าง ๆ ที่จะเกิดขึ้นโดยคำนึงถึงความเป็นไปได้ของสถานการณ์ต่าง ๆ ที่คาดว่าจะเกิดขึ้นในอนาคตทั้งใกล้และไกล
เงื่อนไข การตัดสินใจและการดำเนินกิจกรรมต่าง ๆ ให้อยู่ในระดับพอเพียงนั้น ต้องอาศัยทั้งความรุ้ และคุณธรรมเป็นพื้นฐาน กล่าวคือ
1. เงื่อนไขความรู้ ประกอบด้วย ความรอบรู้เกี่ยวกับวิชาการต่าง ที่เกี่ยวข้องอย่างรอบด้าน ความรอบคอบที่จะนำความรู้เหล่านั้นมาพิจารณาให้เชื่อมโยงกัน เพื่อประกอบการวางแผนและความระมัดระวังในขั้นปฏิบัติ
2. เงื่อนไขความธรรม ที่จะต้องเสริมสร้างประกอบด้วย มีความตระหนักในคุณธรรม มีความชื่อสัตย์สุจริต และมีความอดทน มีความพากเพียร ใช้สติปัญญาในการดำเนินชีวิต
แนวทางปฏิบัติ/ผลที่คาดว่าจะได้รับ จากการนำปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ คือ การพัฒนาที่สมดุลและยั่งยืน พร้อมรับต่อการเปลี่ยนแปลงในทุกด้าน ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคมสิ่งแวดล้อม ความรู้และเทคโนโลยี
การแบ่งลักษณะข้อมูลที่ใช้ในการประมวลผล
ประเภทของคอมพิวเตอร์ตามหลักการประมวลผลคอมพิวเตอร์
ที่แบ่งตามลักษณะการประมวลผลนั้น จะหมายถึงการแบ่งตามสัญญาณข้อมูลที่ใช้ในการประมวลผลนั่นเอง
จำแนกได้เป็น 3 ประเภท คือ
1. คอมพิวเตอร์แบบแอนะล็อก (Analog Computer) หมายถึง เครื่องมือประมวลผลข้อมูลที่อาศัยหลักการวัด (Measuring Principle) ทำงานโดยใช้ข้อมูลที่มีการเปลี่ยนแปลงแบบต่อเนื่อง (Continuous Data) แสดงออกมาในลักษณะสัญญาณที่เรียกว่า Analog Signal เครื่องคอมพิวเตอร์ประเภทนี้มักแสดงผลด้วยสเกลหน้าปัดและเข็มชี้ เช่น การวัดค่าความยาว โดยเปรียบเทียบกับสเกลบนไม้บรรทัด การวัดค่าความร้อนจากการขยายตัวของปรอทเปรียบเทียบกับสเกลข้างหลอดแก้ว นอกจากนี้ยังมีตัวอย่างของ Analog Computer ที่ใช้การประมวลผลแบบเป็นขั้นตอน เช่น ครื่องวัดปริมาณการใช้น้ำด้วยมาตรวัดน้ำที่เปลี่ยนการไหลของน้ำให้เป็นตัวเลขแสดงปริมาณ อุปกรณ์วัดความเร็วของรถยนต์ในลักษณะเข็มชี้ หรือเครื่องตรวจคลื่ยสมองที่แสดงผลเป็นรูปกราฟ เป็นต้น
2. คอมพิวเตอร์แบบดิจิทัล (Digital Computer) ซึ่งก็คือคอมพิวเตอร์ที่ใช้ในการทำงานทั่วๆ ไปนั่นเอง เป็นเครื่องมือประมวลผลข้อมูลที่อาศัยหลักการนับ ทำงานกับข้อมูลที่มีลักษณะการเปลี่ยนแปลงแบบไม่ต่อเนื่อง (Discrete Data) ในลักษณะของสัญญาณไฟฟ้า หรือ Digital Signal อาศัยการนับสัญญาณข้อมูลที่เป็นจังหวะด้วยตัวนับ (Counter) ภายใต้ระบบฐานเวลา (Clock Time) มาตรฐาน ทำให้ผลลัพธ์เป็นที่น่าเชื่อถือ ทั้งสามารถนับข้อมูลให้ค่าความละเอียดสูง เช่นแสดงผลลัพธ์เป็นทศนิยมได้หลายตำแหน่ง เป็นต้น
3. คอมพิวเตอร์แบบลูกผสม (Hybrid Computer)
เครื่องประมวลผลข้อมูลที่อาศัยเทคนิคการทำงานแบบผสมผสาน ระหว่าง Analog Computer และ Digital Computer โดยทั่วไปมักใช้ในงานเฉพาะกิจ โดยเฉพาะงานด้านวิทยาศาสตร์ เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์ในยานอวกาศ ที่ใช้ Analog Computer ควบคุมการหมุนของตัวยาน และใช้ Digital Computer ในการคำนวณระยะทาง เป็นต้น
การทำงานแบบผสมผสานของคอมพิวเตอร์ชนิดนี้ ยังคงจำเป็นต้องอาศัยตัวเปลี่ยนสัญญาณ (Converter) เช่นเดิม
ที่แบ่งตามลักษณะการประมวลผลนั้น จะหมายถึงการแบ่งตามสัญญาณข้อมูลที่ใช้ในการประมวลผลนั่นเอง
จำแนกได้เป็น 3 ประเภท คือ
1. คอมพิวเตอร์แบบแอนะล็อก (Analog Computer) หมายถึง เครื่องมือประมวลผลข้อมูลที่อาศัยหลักการวัด (Measuring Principle) ทำงานโดยใช้ข้อมูลที่มีการเปลี่ยนแปลงแบบต่อเนื่อง (Continuous Data) แสดงออกมาในลักษณะสัญญาณที่เรียกว่า Analog Signal เครื่องคอมพิวเตอร์ประเภทนี้มักแสดงผลด้วยสเกลหน้าปัดและเข็มชี้ เช่น การวัดค่าความยาว โดยเปรียบเทียบกับสเกลบนไม้บรรทัด การวัดค่าความร้อนจากการขยายตัวของปรอทเปรียบเทียบกับสเกลข้างหลอดแก้ว นอกจากนี้ยังมีตัวอย่างของ Analog Computer ที่ใช้การประมวลผลแบบเป็นขั้นตอน เช่น ครื่องวัดปริมาณการใช้น้ำด้วยมาตรวัดน้ำที่เปลี่ยนการไหลของน้ำให้เป็นตัวเลขแสดงปริมาณ อุปกรณ์วัดความเร็วของรถยนต์ในลักษณะเข็มชี้ หรือเครื่องตรวจคลื่ยสมองที่แสดงผลเป็นรูปกราฟ เป็นต้น
2. คอมพิวเตอร์แบบดิจิทัล (Digital Computer) ซึ่งก็คือคอมพิวเตอร์ที่ใช้ในการทำงานทั่วๆ ไปนั่นเอง เป็นเครื่องมือประมวลผลข้อมูลที่อาศัยหลักการนับ ทำงานกับข้อมูลที่มีลักษณะการเปลี่ยนแปลงแบบไม่ต่อเนื่อง (Discrete Data) ในลักษณะของสัญญาณไฟฟ้า หรือ Digital Signal อาศัยการนับสัญญาณข้อมูลที่เป็นจังหวะด้วยตัวนับ (Counter) ภายใต้ระบบฐานเวลา (Clock Time) มาตรฐาน ทำให้ผลลัพธ์เป็นที่น่าเชื่อถือ ทั้งสามารถนับข้อมูลให้ค่าความละเอียดสูง เช่นแสดงผลลัพธ์เป็นทศนิยมได้หลายตำแหน่ง เป็นต้น
3. คอมพิวเตอร์แบบลูกผสม (Hybrid Computer)
เครื่องประมวลผลข้อมูลที่อาศัยเทคนิคการทำงานแบบผสมผสาน ระหว่าง Analog Computer และ Digital Computer โดยทั่วไปมักใช้ในงานเฉพาะกิจ โดยเฉพาะงานด้านวิทยาศาสตร์ เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์ในยานอวกาศ ที่ใช้ Analog Computer ควบคุมการหมุนของตัวยาน และใช้ Digital Computer ในการคำนวณระยะทาง เป็นต้น
การทำงานแบบผสมผสานของคอมพิวเตอร์ชนิดนี้ ยังคงจำเป็นต้องอาศัยตัวเปลี่ยนสัญญาณ (Converter) เช่นเดิม
สัปดาห์ที่3
-ทำแบบฝึกหัด ได้29คะแนน เต็ม30คะแนน
-ได้ดูเพื่อนๆนำเสนอโครงการ อย่างฮาอ่ะคร้าบ!
-คิดเกมร่วมกับกันในกลุ่ม
-ได้ดูเพื่อนๆนำเสนอโครงการ อย่างฮาอ่ะคร้าบ!
-คิดเกมร่วมกับกันในกลุ่ม
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)